ข่าว กีฬา ซีเกมส์

ข่าว กีฬา ซีเกมส์

กีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) กำเนิดขึ้นเมื่อประมาณปลายปี 2500 ด้วยการริเริ่มของ คุณหลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ข่าว กีฬา ซีเกมส์ โดยในระยะนั้นประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงได้มีการติดต่อทางการกีฬากันเป็นประจำ โดยเฉพาะพม่าได้มีสาส์นเชิญประเทศไทยให้ส่งนักกีฬาไปร่วมแข่งขัน ฟุตบอล รักบี้ แบดมินตัน เทนนิส มวยสากล บาสเกตบอล กรีฑา เป็นประจำเกือบจะเรียกได้ว่าเป็นประเพณีก็ว่าได้

ด้วยเหตุนี้ คุณหลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ขณะนั้นดำรงตำแหน่งรองประธานคณะกรรมการ โอลิมปิคแห่งประเทศไทยฯ จึงได้เกิดความคิดขึ้นมาว่า “น่าจะจัดแข่งขันกีฬาระหว่างชาติในกลุ่มแหลมทอง” ขึ้นในลักษณะคล้ายคลึงกับ “เอเชี่ยนเกมส์” หรือ “โอลิมปิกเกมส์” เพราะประชาชาติที่อยู่ในภาคพื้นนี้มีความเป็นอยู่ อากาศและรูปร่างคล้ายคลึงกันมาก

ทั้งนี้ เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานการกีฬาของชาติในกลุ่มแหลมทองให้สูงขึ้นเพื่อเตรียมเข้าร่วมแข่งขันกีฬาเกมส์ใหญ่ ๆ เช่น เอเชี่ยนเกมส์ และ โอลิมปิกเกมส์ และเพื่อให้นักกีฬาของแต่ละประเทศในแถบนี้ได้มีความสามารถฝึกฝนสมรรถภาพของตนให้มีมาตรฐานสูงขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาเกมส์ใหญ่ ๆ และข้อสำคัญ คือ เป็นการสร้างสรรค์ความสัมพันธไมตรีและความร่วมมือระหว่างชาติเพื่อนบ้านในภาคพื้นแหลมทองด้วยกัน

ปี 2501 คุณหลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ได้นำความคิดเห็นของท่านฝากไปกับ ม.ร.เดฟ คิชเตอร์ ผู้ฝึกสอนกิตติมศักดิ์ของสมาคมกรีฑาไทยที่จะเดินทางไปประเทศเขมร เวียดนาม เป็นการส่วนตัว ระหว่างวันที่ 8-14 กุมภาพันธ์ 2501 เพื่อได้ปรึกษาและซาวเสียงต่างประเทศเหล่านั้น

ข่าว กีฬา ซีเกมส์ คุณหลวงสุขุมนัยประดิษฐ์

ข่าว กีฬา ซีเกมส์ ในเวลานั้นทั้งเวียดนามในกัมพูชาดูเหมือนจะสนับสนุนความคิดริเริ่มของความคิดริเริ่ม Khun Luang Sukhunai เกิดมาอย่างสมบูรณ์ ต่อมา Khun Luang Sukhumnai Pradit รวมถึงความเห็นของเขาเกี่ยวกับ Laem Thong Group เพื่อจัดการแข่งขันกีฬาทั่วประเทศเพื่อการอภิปรายในการประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1958 ได้รับการสนับสนุนจากประเทศเพื่อนบ้าน การประชุมถือเป็นการแข่งขันครั้งแรกในกรุงเทพฯ ในเดือนธันวาคม 2501 โครงการได้มอบให้กับ Luan Swumnai Pradet Pradit, Kongwiz Rom และ Kongwiz Rom และโครงการได้พัฒนาโครงการและรายละเอียดขั้นสูง และได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีในโอกาสต่อไป

ในเดือนพฤษภาคม 2501 Khun Luang Suang Sukhumnaipradit, Cong Wisutharam และตัวแทนไทย Sawat เดินทางไปทำข้อเสนอในช่วงเกมเอเชียที่ 3 ของญี่ปุ่นโตเกียวและไทยเราจัดทัวร์นาเมนต์กีฬานานาชาติของกลุ่มเรย์ กับดินแดนทองคำในโตเกียว ประเทศที่เข้าร่วมการประชุมคือประเทศไทยพม่ามาเลเซียลาวกัมพูชากัมพูชาและเวียดนาม การประชุมตกลงและตัดสินใจที่จะใช้ชื่อของการแข่งขัน การแข่งขันครั้งแรกในประเทศไทยในประเทศไทยเคารพประเทศไทยด้วย “Laem Thong” (SEAP Games -South South East Asia Peninsular Games)

ต่อมาเขาได้รับการแต่งตั้งจาก Prapus Chartien Chusho ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกไทย ประธานคนแรกของสหพันธ์กีฬาทองคำ Golden เป็นประธานของคณะกรรมการการแข่งขันที่ 1

ชาติสมาชิกที่ร่วมแข่งในกีฬาซีเกมส์

  • BRU    บรูไน
  • CAM    กัมพูชา
  • INA    อินโดนีเซีย
  • LAO    ลาว
  • MAS    มาเลเซีย
  • MYA    เมียนมา
  • PHI    ฟิลิปปินส์
  • SIN    สิงคโปร์
  • THA    ไทย
  • TLS    ติมอร์ เลสเต
  • VIE    เวียดนาม

เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 1958 (1958) มีการประชุมร่วมกันในเกมเอเชียที่สามที่จัดขึ้นในโตเกียวในญี่ปุ่นในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อดีตรองประธานคณะกรรมการโอลิมปิกไทยและผู้ก่อตั้งองค์การส่งเสริมการกีฬาไทย (ปัจจุบันเป็นคนไทย สำนักกีฬา) และแนะนำว่าควรมีการแข่งขันกีฬาและสนับสนุนความเข้าใจระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันระหว่างกัน

SEAP Games Federation เกิดขึ้น คณะกรรมการผู้ก่อตั้งในประเทศไทย, ไทย, ไทย, มาริยายา, เวียดนาม, เวียดนามใต้, ลาว, ลาว, พม่าและกัมพูชา เกมคาบสมุทรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นครั้งแรกหรือเกม SEAP ที่จัดขึ้นในกรุงเทพฯประเทศไทยจะจัดขึ้นที่กรุงเทพฯประเทศไทยในกรุงเทพฯประเทศไทยระหว่างวันที่ 12 และ 17 ธันวาคม 2502 (2502) ประเทศไทยมาลายาสิงคโปร์ใต้ลาว เจ้าหน้าที่และนักกีฬาเข้าร่วมในการแข่งขันกีฬาทั้งหมด 12 ครั้งในกัมพูชา เข้าร่วมในการแข่งขันเป็นครั้งแรก 2nd Laem Thong Sports ปี 1961 (1961)

ต่อมาในปี 1977 (1977), Laem Thong Sports Union ประกาศชื่อว่าจะเปลี่ยนเป็นสหภาพกีฬาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และชื่อของการแข่งขันกับเกมทะเลที่ใช้ไปแล้วเช่นกันอินโดนีเซียอินโดนีเซียฟิลิปปินส์ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์และ Brunibeiii ได้รับการแก้ไขในฐานะสมาชิกและคณะกรรมการสหภาพอย่างเป็นทางการ ดังนั้นเป็นครั้งแรกที่สิทธิในการเข้าร่วมการแข่งขันครั้งที่เก้าในกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซียฉันตัดสินใจที่จะเข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรก

seagame 2023

ประวัติซีเกมส์ กีฬาซีเกมส์มีประวัติการพัฒนาการทางการแข่งขันดังนี้

เมื่อหลายปีผ่านมาแล้ว การแข่งขันกีฬาต่างๆ ระหว่างประเทศเพื่อบ้านใกล้เคียง เช่น ฟุตบอล รักบี้ แบดมินตัน เทนนิส มวย ฯลฯ ได้เพิ่มขึ้นเป็นลำดับ โดยองค์การกีฬาต่างประเทศเป็นฝ่ายเสนอเข้ามาแข่งขันในกรุงเทพฯ หรือไม่ก็เชิญให้ประเทศไทยออกไปแข่งขันยังนครหลวงประเทศของเขา ซึ่งเจตนารมย์นี้เราก็ได้ตอบสนองและรับการเชิญทุกครั้งเท่าที่โอกาสอำนวยให้ได้ เหตุนั้นความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างประเทศตามวิถีทางการกีฬาจึงได้กระชับเกลียวแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

เมื่อต้นปี พ.ศ. 2501 ได้มีการปรารถกันจากที่หลายแห่งว่า บรรดาประเทศต่างๆ ในภาคพื้นแหลมทองหรือที่เรียกตามภูมิศาสตร์ว่า เอเชียอาคเนย์ ซึ่งได้แก่ ไทย พม่า กัมพูชา มาลายา ลาว และเวียดนาม ควรจะได้มีการชุมนุมแข่งขันกีฬาต่างๆ ตามนัยของการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์และโอลิมปิกบ้าง เพราะจากผลของการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์และโอลิมปิกที่แล้วมา ประเทศในภาคพื้นแหลมทองโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย นักกีฬายังมีสมรรถภาพและประสิทธิภาพด้อยกว่าประเทศอื่นอยู่

ด้วยเหตุดังกล่าวแล้วเป็นประการแรก ประการที่สองประเทศต่างๆ ในภาคพื้นแหลมทองนี้มีความเป็นอยู่ละม้ายคล้ายคลึงกัน อากาศหนาวร้อนสม่ำเสมอกัน รูปพรรณสัณฐานไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน และก็จะจัดให้มีการแข่งขันในฤดูกาลอันควรให้ได้จังหวะก่อนการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์และโอลิมปิกด้วยแล้ว ก็จะเป็นการตระเตรียมที่มีคุณค่าแก่การแข่งขันครั้งใหญ่ดังกล่าวนั้นไปในตัวเลยทีเดียว ประการสุดท้ายจุดประสงค์สำคัญของการจัดให้มีการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศนี้ก็คือ

  1. เพื่อเชื่อมความสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศเพื่อนบ้านทั้ง 6 ให้มีความกระชับสนิทสนมยิ่งขึ้น เพราะการกีฬาเป็นสื่อสัมพันธไมตรีที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง
  2. เพื่อจะได้ปรับปรุงกิจการกีฬา และเพาะนักกีฬาของเราให้ดียิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นการประลองฝีมือกันแล้วยังเป็นการกระตุ้นให้นักกีฬาตื่นตัวยิ่งขึ้น และมีโอกาสได้ตระเตรียมตัวเพื่อการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์และโอลิมปิกคราวต่อไปด้วย ประเทศไทยเป็นประเทศภาคีสมาชิก หากไม่จัดส่งทีมไปแข่งขันเลยก็จะเป็นการขาดหายไปซึ่งเป็นสิ่งมิบังควร

การเลือกเจ้าภาพ

ตามหลักการเลือกเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาซีเกมส์แต่ละครั้ง จะเวียนกันเป็นเจ้าภาพในกลุ่มประเทศภาคีสมาชิกในสหพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ละประเทศจะมีการกำหนดในการเป็นเจ้าภาพในปีนั้นๆ โดยแต่ละประเทศจะสามารถ เลือก หรือ ไม่เลือก ในการเป็นเจ้าภาพได้

เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 ในการประชุมของสหพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ประเทศพม่า ประเทศบรูไนได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 30 ซึ่งก่อนหน้านี้บรูไนเคยได้เป็นเจ้าภาพเพียงครั้งเดียวในปี 1999 โดยบรูไนได้วางแผนที่จะปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกในด้านกีฬาและจะสร้างสนามกีฬาแห่งใหม่ในซาลัมบีการ์ เพื่อให้พร้อมจัดการแข่งขันในครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 2015 บรูไนได้ขอถอนตัวจากการเป็นเจ้าภาพการแข่งขัน เนื่องจากขาดสิ่งอำนวยความสะดวก และไม่มีเวลาในการเตรียมความพร้อม

ต่อมาเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 2017 หลังจากการถอนตัวเป็นเจ้าภาพของบรูไน สหพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการว่าประเทศฟิลิปปินส์จะเป็นเจ้าภาพสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้

ไร้เทียมทาน - ย้อนประวัติศาสตร์ 4 กีฬาไทยครองเจ้าซีเกมส์

เหนือกว่าคำว่า “เก่ง” หรือ “แข็งแกร่ง” หรือ “สุดยอด” ในวงการกีฬาคำว่า “ไร้เทียมทาน” สำนวนจีนที่หยิบยกขึ้นมาใช้นั้น ย่อมหมายถึง “ไม่มีใครสู้” หรือ “ไร้คู่ต่อกร” ประเทศไทยคือ หนึ่งในชาติผู้ร่วมก่อตั้งกีฬาแหลมทอง (เซียพเกมส์ สู่ ซีเกมส์) และเป็นชาติอันดับหนึ่งที่กวาดเหรียญทองได้มากที่สุดเหนือทุกชาติในอาเซียน ด้วยผลงานของนักกีฬาไทยที่แสดงความเป็นหนึ่ง ชนิดที่คู่ต่อสู้ไม่สามารถต้านทานได้ จนกว่าที่จะไปถึงคำว่า “ไร้เทียมทาน” ได้นั้น มาตรฐานแห่งความสุดยอดคือ การได้เหรียญทองอย่างน้อย 10 เหรียญ และโชว์ศักยภาพได้ต่อเนื่องยาวนานเกินทศวรรษ

“ซูเปอร์เอ็กซ์” ธีรัช โพธิ์พานิช “ราชาแห่งซีเกมส์”

นักกีฬาไทยสักคนที่ได้ชื่อว่า “ราชาแห่งซีเกมส์” ในยุคที่กีฬาซีเกมส์ทรงคุณค่า และเปี่ยมไปด้วยมนต์ขลัง ชื่อของ “ซูเปอร์เอ็กซ์” ธีรัช โพธิ์พานิช ก็ปรากฏขึ้นในฐานะตำนานแห่งวงการกีฬายิมนาสติกของไทย สุดยอดนักกีฬาหนึ่งเดียวที่โกยเหรียญทองและความสำเร็จแบบนับไม่หวาดไม่ไหว

ใครต่อใครเรียกเขาว่า “ราชายิมนาสติก” ในกีฬาซีเกมส์ กีฬาสากลที่ตัดสินกันด้วยสายตา ธีรัช โพธิ์พานิช เริ่มต้นกีฬาซีเกมส์ครั้งแรกของเขาด้วยอายุเพียง 13 ปี ในกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 11 ที่ฟิลิปปินส์ ปี 1981 ทำได้ 2 เหรียญทอง (ทีมชาย,ม้าหู) ก่อนที่ซีเกมส์ ครั้งที่ 12 ที่สิงคโปร์ จะไม่มีการจัดแข่งขันยิมนาสติก

ซีเกมส์ ครั้งที่ 13 ที่กรุงเทพฯ “ซูเปอร์เอ็กซ์” กวาด 6 เหรียญทอง (ฟลอร์เอ็กเซอร์ไซส์, ม้าหู, บาร์เดี่ยว, บาร์คู่, ทีมชายและบุคคลรวมอุปกรณ์), ซีเกมส์ ครั้งที่ 14 ที่อินโดนีเซีย 5 เหรียญทอง (ทีมชาย, ห่วง, บาร์คู่, บาร์เดี่ยว และบุคคลรวมอุปกรณ์), ซีเกมส์ ครั้งที่ 15 มาเลเซีย 5 เหรียญทอง (ทีมชาย, บุคคลรวมอุปกรณ์, ม้าหู, ห่วง และบาร์เดี่ยว), ซีเกมส์ ครั้งที่ 16 ที่ฟิลิปปินส์ 4 เหรียญทอง (ทีมชาย, บุคคลรวมอุปกรณ์, ม้าหู และม้ากระโดด)